งานชิ้นที่ 11จากใจชายหยาถึงอาจารย์อภิชาติ

on วันศุกร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2552

เป็นปูชนียบุคคลสำหรับอาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาแก่ศิษยานุศิษย์ มีปิยวาจาการพูดจาสื่อสารชัดถ้อยชัดคำ เป็นกลัยาณมิตรคิดบวกไม่คิดลบ มีครบองค์ความรู้ ถ่ายทอดสู่ศิษย์ไม่ปิดบัง ภูมิใจในความเป็นศิษย์ของอาจารย์มากครับ


งานชิ้นที่ 10 ประวัติชายหยา


ชื่อชายหยา คือ หยา ชายภักตร์
เกิดชายหยา คือ วันที่ 8 กรกฏาคม 2509
การศึกษาชายหยา ระดับประถมศึกษา จังหวัดตรัง ระดับ มัธยมศึกษา จังหวัดสตูล ระดับปริญญาตรี จังหวัดนครศรีธรรมราช
ปัจจุบันชายหยา เรียนประกาศนียบัตรบริหาร มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช
คติพจน์ชายหยา คือ แม้ชีวิตมืดมนต์บนเส้นด้าย มิเคยหน่ายหนีร้างร่างไกลศิษย์
ปัจจุบัน ชายหยาทำงานเป็นครู โรงเรียนบ้านทุ่งหัวนา อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช

งานชิ้นที่ 9 คุณลักษณะผู้บริหารมืออาชีพ

คุณลักษณะผู้บริหารอาชีพ ลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ มี ๖ ประการดังนี้
๑. เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
๒. มีจิตวิญญาณนักบริหาร ให้มีภูมิรู้ ภูมิธรรม และภูมิฐาน
๓. เป็นผู้นำทางการศึกษาผู้บริหารมืออาชีพต้องเป็นผู้มีความรู้ด้านการศึกษา เป็นผู้นำทางวิชาการ
๔. มีความรู้ความสามารถในการบริหาร รู้ในหลักการบริหาร เทคนิคการบริหาร และการวางแผนกลยุทธ์ ๕. มีผลงานที่แสดงถึงความชำนาญในการบริหารสถานศึกษา
๖. นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหาร

งานชิ้นที่ 8 spss ชายหยา

งานชิ้นที่ 8 มารู้จักspss
ใบงานที่ 8 จากการศึกษาโปรแกรม SPSS
1. สถิติ หมายถึง ตัวข้อมูลหรือจำนวนต่างๆที่ได้มาจากข้อมูล และหมายถึง วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 2. ค่าเฉลี่ย คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมดหารด้วยจำนวนคะแนนมัธยฐาน คือ คะแนนตรงกลางที่แบ่งคะแนนอื่นๆออกเป็น 2 ฝ่ายเท่าๆกัน ฐานนิยม คือ ค่าที่ปรากฏบ่อยที่สุด หรือคะแนนที่มีความถี่มากที่สุดส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือรากที่สองของค่าเฉลี่ยของกำลังสองของค่าเบี่ยงเบนค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม เป็นมาตราวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เป็นค่าสถิติที่ใช้สำหรับเป็นตัวแทนของข้อมูลในกลุ่มหรือในเซ็ตนั้นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นมาตราวัดการกระจาย เป็นสถิติที่ช่วยให้ทราบถึงระดับของการกระจายหรือการแปรผันของคะแนนในกลุ่มนั้น3. ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกัน คือประชากร หมายถึง กลุ่มของคน สัตว์ สิ่งของ หรือค่าที่วัดมา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมดในกลุ่มนั้น กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง กลุ่มสมาชิกส่วนหนึ่งของประชากร ที่ผู้วิจัยเลือกมาเป็นตัวแทน4. มาตรานามบัญญัติ เป็นระดับการวัดที่ต่ำสุด เป็นการกำหนดตัวเลขแทนชื่อคน แทน คุณลักษณะต่างๆ แทนเหตุการณ์ หรือสิ่งต่างๆมาตราเรียงอันดับ เป็นการกำหนดตัวเลข หรือสัญลักษณ์ เพื่อชี้ถึงอันดับ มาตราอันตรภาค มีศูนย์สมมุติ และมีหน่วยของการวัดที่เท่ากัน ได้แก่ การวัดอุณหภูมิ มาตราอัตราส่วน มีศูนย์แท้ มีหน่วยของการวัดเท่ากัน เช่น การวัดความยาว ชั่งน้ำหนัก5. ตัวแปร คือ คุณลักษณะหรือสภาวการณ์ต่างๆซึ่งแบ่งออกเป็นพวก หรือเป็นระดับ หรือมีค่าได้หลายค่าตัวแปรต้น เป็นตัวแปรที่ไม่ขึ้นกับตัวแปรตาม จะเป็นสาเหตุมีผลหรืออิทธิพลต่อตัวแปรตามตัวแปรตาม เป็นตัวแปรที่สันนิษฐานว่าจะขึ้นอยู่กับ หรือแปรผันไปตามตัวแปรต้น 6. สมมุติฐาน Hypothesis คือ คำตอบสรุปของผลการวิจัยที่คาดการณ์หรือพยากรณ์ไว้ล่วงหน้า เป็นข้อสันนิษฐานที่อาจเป็นความจริงมีเหตุผลเชื่อถือได้ว่าเป็นไปได้จริง แต่อาจเป็นจริงหรือไม่จริงก็ได้ สมมุติฐานทางการวิจัยมี 2 ประเภท คือ สมมุติฐานหลัก และสมมุติฐานเลือก หรือเรียกว่าสมมุติฐานตรงข้าม 7. t-test กับ F- test ต่างกัน คือt-test ใช้ทดสอบนัยสำคัญของความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของสองกลุ่ม F- test ใช้ทดสอบนัยสำคัญของความแตกต่างระหว่างความแปรปรวนของสองกลุ่ม

งานชิ้นที่ 7 บล็อกชายหยา

งานชิ้นที่ 7 บล็อคหนูสุดสวย
ใบงานที่7การตกแต่งwebboardให้สวยงามและน่าสนใจ1.การใส่ปฏิทินในเวบบอร์ด - ค้นหาโค้ดปฏิทินจากเวบgoogleพิมพ์คำว่าcodeปฏิทิน - เลือกเวบที่เกี่ยวข้องเลือก รูปแบบปฏิทินที่ชอบแล้วcopycode - เปิดบล็อกของตนเองเข้าไปที่รูปแบบ จากนั้นคลิ๊ก ในส่วนองค์ประกอบของหน้า เพิ่ม Gadget คลิ๊กในส่วนของ html /จาวาสคริป นำโค๊ดที่ได้วางไว้ในส่วนของเนื้อหา แล้วกดบันทึก(save)เพื่อยืนยัน2.การใส่นาฬิกา - ค้นหาโค้ดนาฬิกาจากเวบgoogleพิมพ์คำว่าcode นาฬิกา -เลือกเวบที่เกี่ยวข้องเลือกรูปแบบนาฬิกาที่ชอบแล้วcopycode - เปิดบล็อกของตนเองเข้าไปที่รูปแบบ จากนั้นคลิ๊ก ในส่วนองค์ประกอบของหน้า เพิ่ม Gadget คลิ๊กในส่วนของ html /จาวาสคริป นำโค๊ดที่ได้วางไว้ในส่วนของเนื้อหา แล้วกดบันทึก(save)เพื่อยืนยัน3.การทำสไลด์ - เข้าwww.slide.com เพื่อสมัครสมาชิก- เข้าสู่ระบบ โดยการใส่ username และ password ที่ได้สมัครไปข้างต้น - เมื่อเข้าสู่ระบบแล้วคลิ๊กสร้างการแสดงภาพสไลด์ จากนั้นไปที browse เพื่อเพิ่มรูปภาพที่ต้องการ ซึ่งภาพนี้อาจอยู่ในเครื่องคอมพวิเตอร์ของท่านหรือจากเวบที่ท่านทำการฝากรูปไว้ ทำการuploadรูป- ปรับตกแต่งให้สวยงามตามความต้องการโดยเลือกรูปแบบ หลากหลาย ขนาด เอ๊ฟเฟกต่างๆ ตามใจชอบ เมื่อเลือกได้ตามที่ต้องการ ให้บันทึก เพื่อรับรหัส code จากนั้น copy code ที่ได้ไปวางไว้ในส่วนของบทความใหม่ หรือใน Gadget ก็ได้. เสร็จแล้ว คลิ๊ก บันทึกเพื่อยืนยันเกร็ดเล็กๆน้อยๆ....หากท่านเข้าเวบwww.slide.comแล้วพบว่าเป็นภาษาอังกฤษ อย่างเพิ่งตกใจ ให้เลื่อนเม้าส์ไปด้านล่างจะมีเมนูให้ท่านเปลี่ยนภาษาได้ .....4.การปรับแต่งสีในblog - เปิด blog ของตัวเอง เข้าไปในส่วนของ รูปแบบ จากนั้น คลิ๊ก แบบอักษรและสี สามารถเลือกปรับแต่งสี ในส่วนต่างๆของหน้า blog เมื่อเลือกเสร็จให้คลิ๊ก บันทึกการเปลี่ยนแปลงเพื่อยืนยันเกร็ดเล็กๆน้อยๆ หากท่านเปลี่ยน template ของบล็อก การปรับแต่งสีเป็นสิ่งสำคัญ5.การใส่เพลง -เข้าเวบhttp://happyvampires.gmember.com/home.php?1402 - เลือกเพลงที่ชื่นชอบ copy embed เพื่อนำ code ที่ได้ไปวางไว้ในบล็อกตนเอง- เข้าบล็อกตนเอง ไปวางในส่วนของบทความใหม่

on วันศุกร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2552

การจัดการความรู้ หมายถึง การจัดการความรู้ คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด 2. ขั้นตอนการจัดการความรู้1. กำหนดประเด็น2. ตั้งวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย.3. แสวงหาความรู้ที่เกี่ยวข้อง4. พิจารณาจัดลำดับความสำคัญ และความจำเป็นของความรู้5. ผสมผสานความรู้เข้าด้วยกัน6. ลงมือปฏิบัติการ 7. สังเกตผลจากการปฏิบัติว่าได้รับสิ่งที่คาดหวังหรือมุ่งหวังหรือไม่ หากได้ผล ตามที่มุ่งหวังก็ดำเนินการทางปฏิบัติต่อไปแต่หากผลไม่ตรงตามที่คาดหวังต้องย้อนกลับไปพิจารณาว่าต้องใช้ความรู้เรื่องใดมาใช้ประกอบเพิ่มขึ้นอีกนำมาพิจารณาแล้วตัดสินใจปฏิบัติการอีก3.แหล่งข้อมูลความรู้อาจแบ่งใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คือ1.ความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสาร รือ วิชาการ อยู่ในตำรา คู่มือปฎิบัติงาน สื่อต่าง ๆ วีซีดี ดีวีดี เทป Internet เป็นต้น2.ความรู้ซ่อนเร้น (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่แฝงอยู่ในตัวคน เป็นประสบการณ์ที่สั่งสมมายาวนาน เป็นภูมิปัญญา เช่น ทักษะ ประสบการณ์ ความคิด และพรสวรรค์ เป็นต้น4.เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง การแลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูลข่าวสาร ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล องค์การ และแหล่งความรู้ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จนเป็นระบบที่เชื่อมโยงกัน ส่งผลให้เกิดการเผยแพร่และการประยุกต์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาชีพหรือทางสังคม5.สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้วสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในด้านต่างๆ เช่น1. ให้ความรู้ทำให้เกิดความคิดและความเข้าใจ2. ใช้ในการวางแผนการบริหารงาน3. ใช้ประกอบการตัดสินใจ4. ใช้ในการควบคุมสถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น5. เพื่อให้การบริหารงานมีระบบ ลดความซ้ำซ้อนอ้างอิงhttp://tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson02/lesson2-1.htmwww.sc.mahidol.ac.th/SCKM/index.htmhttp://www.dopa.go.th/iad/km/km_des.html#km1http://www.trang.psu.ac.th/learning2teach/index.php?option=com_content&task=view&id=60&Itemid=34www.person.ku.ac.th/training/kukm/article/handbook_2549.dochttp://www.dopa.go.th/iad/km/km_des.html#km1
body {background-image: url(http://i269.photobucket.com/albums/jj72/myem0/bg/cute-background-1-039.gif); background-repeat: repeat;}

สรุปเนื้อหาวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒

on วันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สรุปผลการเรียน
วันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒
การจัดการความรู้
ขั้นตอนที่ ๑ การออกแบบสถาปัตยกรรม
๒. การออกแบบ
๓. การขับเคลื่อน
๔. การผลิตออกมา
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ “ สู่มนุษย์ ”
๑. ผู้ดูแลทุนมนุษย์
๒. ผู้ประสานสัมพันธ์
๓. ผู้อำนวยความรู้
๔. ผู้มีอาชีพที่เฉพาะ
คำคม
เพียงจ้องมองบันไดยังไม่พอ เราจะต้องก้าวขึ้นบันไดด้วย

หัวปลา kvโมเดลปลาทู
ตัวปลา ks
หางปลา kaô
กระบวนการจัดการความรู้
๑. กำหนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้
๒. แสวงหาความรู้
๓. จัดเก็บ และศึกษาหาความรู้
๔. การสร้างความรู้
๕. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
๖. การถ่ายโอนและกลั่นกรองความรู้
๗. การแบ่งความรู้
อุปสรรคการเรียนรู้
ไม่พูด ไม่คุย
ไม่เปิด ไม่รับ
ไม่ปรับ ไม่เปลี่ยน
ไม่เพียร ไม่ทำ
คลังความรู้ที่ดี
เรื่องราว
กรณีตัวอย่าง
การตรวจสอบ

สรุปเนื้อหาวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒

สรุปผลการเรียน
วันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒
การจัดการความรู้
ขั้นตอนที่ ๑ การออกแบบสถาปัตยกรรม
๒. การออกแบบ
๓. การขับเคลื่อน
๔. การผลิตออกมา
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ “ สู่มนุษย์ ”
๑. ผู้ดูแลทุนมนุษย์
๒. ผู้ประสานสัมพันธ์
๓. ผู้อำนวยความรู้
๔. ผู้มีอาชีพที่เฉพาะ
คำคม
เพียงจ้องมองบันไดยังไม่พอ เราจะต้องก้าวขึ้นบันไดด้วย

หัวปลา kvโมเดลปลาทู
ตัวปลา ks
หางปลา kaô
กระบวนการจัดการความรู้
๑. กำหนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้
๒. แสวงหาความรู้
๓. จัดเก็บ และศึกษาหาความรู้
๔. การสร้างความรู้
๕. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
๖. การถ่ายโอนและกลั่นกรองความรู้
๗. การแบ่งความรู้
อุปสรรคการเรียนรู้
ไม่พูด ไม่คุย
ไม่เปิด ไม่รับ
ไม่ปรับ ไม่เปลี่ยน
ไม่เพียร ไม่ทำ
คลังความรู้ที่ดี
เรื่องราว
กรณีตัวอย่าง
การตรวจสอบ

คำคมสมใจนึก

on วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

" เพียงจ้องมองบันไดยังไม่พอ
เราต้องก้าวขึ้นบันไดด้วย "


It is not enough to stare up the steps we must step up the stairs .

วิเคราะห์ระบบ

การกำหนดยุทธศาสตร์
ของโรงเรียนบ้านปลายเส

จุดเน้น
ยุทธศาสตร์ปรับปรุง
ยุทธศาสตร์ดำรงรักษา
ระบบหลัก
ระบบสนับสนุนที่จะดำเนินการควบคู่ระบบหลัก
ระบบหลัก
ระบบสนับสนุนที่จะดำเนินการควบคู่ระบบหลัก
ปีการศึกษา 2552ภาคเรียนที่ 2

-ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
-ระบบพัฒนาบุคลากร
- ระบบสารสนเทศ
-ระบบดูแลคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ
-
-
ปีการศึกษา 2553ภาคเรียนที่ 1

-ระบบการเรียนรู้
-ระบบการบริหารจัดการ
- ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
-ระบบพัฒนาบุคลากร
-ระบบสารสนเทศ
-ระบบดูแลคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ
ปีการศึกษา 2553ภาคเรียนที่ 2

-ระบบกิจกรรมนักเรียน
-ระบบชุมชนสัมพันธ์
-ระบบการเรียนรู้
-ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
-ระบบพัฒนาบุคลากร
- ระบบสารสนเทศ
-ระบบการบริหารจัดการ
ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 1

-
-
ทุกระบบ
ทุกระบบ









การกำหนดยุทธศาสตร์


จุดเน้น
ยุทธศาสตร์ปรับปรุง
ยุทธศาสตร์ดำรงรักษา
ระบบหลัก
ระบบสนับสนุนที่จะดำเนินการควบคู่ระบบหลัก
ระบบหลัก
ระบบสนับสนุนที่จะดำเนินการควบคู่ระบบหลัก
ปีการศึกษา 2552ภาคเรียนที่ 2

-ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
-ระบบพัฒนาบุคลากร
- ระบบสารสนเทศ
-ระบบดูแลคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ
-
-
ปีการศึกษา 2553ภาคเรียนที่ 1

-ระบบการเรียนรู้
-ระบบการบริหารจัดการ
- ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
-ระบบพัฒนาบุคลากร
-ระบบสารสนเทศ
-ระบบดูแลคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ


















ตารางวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ระบบการเรียนรู้


มาตรฐาน/ข้อกำหนด
ผลการวิเคราะห์
ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์
เป็นจุดอ่อน
เป็นจุดแข็ง
๑.การวิเคราะห์คำอธิบายรายวิชาและจัดทำหน่วยการเรียนรู้

/
โรงเรียนมีการศึกษาคำอธิบายรายวิชาวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ ทำหน่วยการเรียนรู้ ที่สอนโดยครูทำครบทุกขั้นตอนร้อยละ ๘๐
๒.การวิเคราะห์ผู้เรียน

/
โรงเรียนมีการศึกษาข้อมูลพื้นฐานนักเรียนอย่างหลากหลาย ร้อยละ ๑๐๐
๓. การปรับพื้นฐานผู้เรียน
/

โรงเรียนได้ทำการปรับพื้นฐานนักเรียน
๔. การออกแบบการเรียนรู้และการวัดผล
/

โรงเรียนยังขาดระบบในการออกแบบการเรียนรู้ที่ครบขั้นตอน
๕. การจัดการเรียนรู้

/
โรงเรียนมีการจัดการเรียนรู้ที่บันทึกการจัดการเรียนรู้ตามวิธีการที่กำหนด
๖.การประมวลผลการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย
/

โรงเรียนมีการประเมินผลการเรียนรู้ตามวิธีการที่กำหนดไม่ครบทุกหน่วยการเรียนรู้
๗. การนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้

/
โรงเรียนมีการจัดระบบการนิเทศภายในอย่างสม่ำเสมอ
๘. การวิจัยชั้นเรียน
/

ครูมีการทำวิจัยชั้นเรียนเพียงร้อยละ ๖๐
๙. การพัฒนา เสริมเด็กเก่ง

/
- นักเรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
-โรงเรียนมีการพัฒนานักเรียนที่มีความสามารถพิเศษอย่างต่อเนื่อง
๑๐. รายงานผลระบบการเรียนรู้
/

โรงเรียนยังไม่มีระบบการจัดทำรายงานสารสนเทศงานระบบการเรียนรู้ที่เป็นระบบ

สรุประบบการเรียนรู้ยังเป็นจุดอ่อน

ตารางวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน



มาตรฐาน/ข้อกำหนด
ผลการวิเคราะห์
ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์
เป็นจุดอ่อน
เป็นจุดแข็ง
๑. จัดครูที่ปรึกษา

/
นักเรียนมีครูที่ปรึกษาในอัตราที่กำหนด
( ๑ / ๑๒ คน )
๒. รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล

/
นักเรียนมีระเบียนสะสมที่มีข้อมูลครบสมบูรณ์ร้อยละ ๙๘
นักเรียนร้อยละ ๘๐ ได้รับการเยี่ยมบ้าน
๓. คัดกรองนักเรียน

/
โรงเรียนได้จัดทำระบบคัดกรองนักเรียนทุกคน
๔. การแก้ปัญหานักเรียน

/
โรงเรียนมีการจัดทำระบบการแก้ปัญหานักเรียนที่มีปัญหา เช่น สอนซ่อมเสริม ประชุมผู้ปกครอง จัดกิจกรรมเสริม
๕. ส่งเสริมทักษะชีวิต
/

โรงเรียนจัดกิจกรรมพัฒนาส่งเสริมทักษะชีวิตแต่ยังขาดความต่อเนื่องและสม่ำเสมอ และขาดระบบการจัดการ
๖. ร่วมมือกับผู้ปกครอง

/
ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่างๆ
ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมประชุมชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอ
๗. สรุปรายงานผลข้อมูลสารสนเทศ
/

โรงเรียนยังไม่มีระบบการจัดทำรายงานสารสนเทศงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เป็นระบบ


สรุปด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียนป็นจุดแข็ง

ใบกิจกรรมที่ ๓.๑
วิธีปฏิบัติ และตัวชี้วัดของระบบ

ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.
วิธีคำอธิบายรายวิชา และออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ร้อยละ ๑๐๐ ของหลักสูตรมีความสมบูรณ์ถูกต้อง
ร้อยละ ๘๐ ของรายวิชาที่มีการวิเคราะห์และจัดทำหน่วยตามวิธีการที่กำหนด
ร้อยละ ๘๐ ของครูที่มีการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ร้อยละ ๘๐ ของครูที่มีการกำหนดหน่วยการเรียนรู้และกำหนดการสอน

๑. ศึกษาหลักสูตร คำอธิบายรายวิชา วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ และแนวทางการวัดประเมินผล
๒. นำสาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังมากำหนดหน่วยการเรียนรู้ และรายละเอียดการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ตามแบบบันทึกที่กำหนด
๓. นำหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชาที่รับผิดชอบเข้าประชุมสายชั้นเพื่อกำหนดหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการแบบต่างๆ ตามนโยบายของโรงเรียน
๔. สังเคราะห์ผลการเรียนรู้จากทุกหน่วยเป็นผลการเรียนรู้ใน ป.พ. ๕ กำหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์การคิดวิเคราะห์อ่านเขียนที่เหมาะสมกับรายวิชาที่สอน พร้อมทั้งกำหนดเกณฑ์การประเมินผล

10.1
14.1
วิเคราะห์ผู้เรียน
ร้อยละ ๘๐ ของครูที่มีการวิเคราะห์ผู้เรียน
ร้อยละ ๘๐ ของครูที่มีการทดสอบพื้นฐานของนักเรียน
ร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียนที่ได้รับการสำรวจข้อมูล
ร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียนได้รับการบันทึก
๑. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานผู้เรียนเป็นรายบุคคลจากแหล่งข้อมูลหลากหลาย เช่น จาก ป.พ. ๕ ป.พ. ๘ รบ.๓ บัตรสุขภาพ
๒. สังเกต สัมภาษณ์ สอบถามผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมที่ถนัดและสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้
๓. ทดสอบทักษะ ความรู้ พื้นฐาน ตามความเหมาะสมกับรายวิชา
๔. นำข้อมูลจากข้อ ๑- ๓ ที่จำเป็นต่อการจัดการเรียนรู้มาประมวลผลตามแบบ

10.2
ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.


บันทึกที่กำหนด
๕. ประชุมกลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อจัดกลุ่มผู้เรียนที่ต้องปรับพื้นฐานตามสภาพปัญหาและสาเหตุ


ปรับพื้นฐาน
ร้อยละ ๕๐ ของนักเรียนที่ได้รับการปรับพื้นฐาน

๑. ทบทวนปัญหาและสาเหตุของนักเรียนที่จำเป็นต้องปรับพื้นฐาน
๒. ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้นเพื่อเลือกกำหนดรูปแบบและผู้รับผิดชอบในการปรับพื้นฐาน
๓. กำหนดกิจกรรมการปรับพื้นฐานตามรูปแบบที่กำหนดใช้วิธีการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียนและผู้ปกครองตามความเหมาะสมกับปัญหาและสาเหตุ
๔. ประเมินผลการปรับพื้นฐาน
๕. นำผลการปรับพื้นฐานมากำหนดข้อเสนอแนะในการออกแบบเรียนรู้และออกแบบกลุ่มเรียนรู้ในกลุ่มเรียนปกติ

10.2
ออกแบบแผนการเรียนรู้และประเมินแต่ละหน่วย
ร้อยละ ๘๐ ที่มีการบันทึกการออกแบบการเรียนรู้
ร้อยละ ๘๐ ของครูที่มีการจัดทำแผนการเรียนรู้
๑. นำข้อมูลจากการกำหนดหน่วยการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน การปรับพื้นฐานผู้เรียนมาศึกษา ทบทวน
๒. กำหนดหน่วยการเรียนรู้ย่อยๆ ของแต่ละหน่วยโดยระบุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ( KAP ) และสาระการเรียนรู้ในแผนนั้นๆ
๓. กำหนดพฤติกรรมการเรียนรู้ย่อยๆ ที่สัมพันธ์กับKAP ของแผนและกำหนดแนวทางการวัดที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้
๔. ออกแบบกิจกรรม สื่อการเรียนรู้ ที่เน้นการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ ( Active

10.3
14.2

ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.


๕. Learning ) สอดคล้องกับข้อมูลพื้นฐานและการวิเคราะห์ผู้เรียน และมีประสิทธิภาพให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังบรรลุ KAP ได้จริง ( Maximum performance )
แต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ออกแบบกลุ่มเรียนรู้และเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์และทักษะทางสังคมสูงสุด ( Maximum participation )
๖. ออกแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากกิจกรรมชิ้นงานที่นักเรียนปฏิบัติและสอดคล้องกับแนวทางการวัดที่ออกแบบไว้จากข้อ ๓
๗. นำข้อมูลจากวิธีการในข้อ ๒-๖ มาจัดทำแนวการจัดการเรียนรู้และการวัดผลในแต่ละหน่วยตามแบบบันทึกที่กำหนด
นำข้อมูลจากข้อ ๖ มาทำรายละเอียดในแต่ละแผนการเรียนรู้ตาม


การจัดการเรียนรู้
1. ร้อยละ 75 ของครูที่จัดกิจกรรมตามแผน
2. ร้อยละ 75 ของนักเรียนคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ และคุณลักษณะการคิดวิเคราะห์ อ่าน เขียน
เมื่อนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในแต่ละห้องเรียนให้บันทึกการจัดการเรียนรู้ตามลำดับดังนี้
๑. การปรับเปลี่ยนรายละเอียดในแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับธรรมชาติผู้เรียนในแต่ละห้อง ( ถ้าจำเป็น )
๒. บรรยากาศระหว่างเรียนรู้ เช่น ความเหมาะสมของกิจกรรม สื่อ พฤติกรรมนักเรียนในการเรียนรู้ ความเหมาะสมด้านเวลาเป็นต้น

10.3
10.4
14.3
14.4
ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.


๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะคิดวิเคราะห์อ่านเขียนในแผนนั้น
๔. ปัญหา/ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาแผนการเรียนรู้ให้ดีขึ้น
พฤติกรรมการสอนที่ค้นพบและควรพัฒนาตนเองต่อไป


ประเมินผลการเรียนรู้แต่ละหน่วย
1. ร้อยละ 5 ของนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ให้นำผลการเรียนรู้จากแผนย่อยๆ มาประมวลผล ที่สามารถให้รายละเอียดของนักเรียนแต่ละคนดังนี้
๑. พัฒนาการของการบรรลุผลการเรียนรู้ ( KAP ) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ทักษะการคิดวิเคราะห์ อ่านเขียนจากแผนสู่แผนในหน่วยนั้นๆ
๒. วินิจฉัยสาเหตุการไม่บรรลุผล ( สำหรับนักเรียนที่ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด )
๓. มีข้อมูลเสนอแนวทางการพัฒนาหรือปรับปรุงนักเรียนที่ไม่ผ่าน
ประมวลผลนักเรียนที่ตัดสินในหน่วยนั้นให้เชื่อมโยงกับข้อมูลที่ต้องการใน ป.พ. ๕

10.5
10.6






ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.
การนิเทศภายในและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1. ร้อยละ 75 ของครูที่ได้รับการนิเทศ
จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามกลุ่มสาระหรือสายชั้นตามความเหมาะสมโดยมีตัวแทนทีมนำหรือทีมคุณภาพจากระบบเรียนรู้และระบบอื่นๆ เข้าร่วมประชุมตามความเหมาะสมและให้มีแนวปฏิบัติดังนี้
๑. ผู้สอนแต่ละคนรวบรวมปัญหาและข้อเสนอค้นพบจากขั้นตอนตามกระบวนการที่ผ่านมา ส่งให้หัวหน้ากลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อการประมวลประเด็น
๒. ในแต่ละเดือนให้มีการประชุมกลุ่มสาระ ประชุมสายชั้น ๑ ครั้ง เป็นอย่างน้อยผู้สอนแต่ละคนรวบรวมปัญหาและข้อเสนอค้นพบจากขั้นตอนตามกระบวนการที่ผ่านมา ส่งให้หัวหน้ากลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อการประมวลประเด็น
ในแต่ละเดือนให้มีการประชุมกลุ่มสาระ ประชุมสายชั้น ๑ ครั้ง เป็นอย่างน้อย
๓. ร่วมกันลำดับความสำคัญของปัญหา เสนอแนวทางการแก้ไขที่เกิดจากระบบเรียนรู้และระบบอื่นๆ จากตัวอย่าง ที่ประสบความสำเร็จ
๔. บันทึกผลการนิเทศภายในและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแบบบันทึกที่กำหนด
๕. ประเมินผลความพึงพอใจการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแบบประเมิน
หัวหน้าสายชั้น/หัวหน้ากลุ่ม สาระ บันทึกผลการประชุมเสนอ

14.6


ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.
การวิจัยปรับปรุง
1.ร้อยละ 5 ของนักเรียนที่สอบไม่ผ่านในการแก้ไขผลการเรียนเพื่อ
การซ่อมเสริม
2. ร้อยละ 95 ของนักเรียนทั้งหมดที่ต้องการพัฒนา
3. ร้อยละ ๖๐ ของครูที่มีการทำวิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

๑. ทบทวนการประมวลผลการเรียนรู้แต่ละหน่วยและการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน
๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ สำหรับกลุ่มที่ตัดสินผลไม่ผ่านในหน่วยนั้นๆ
๓. ศึกษานวตกรรม วิธีการวิจัยชั้นเรียน จากคู่มือที่กำหนด
๔. ออกแบบการวิจัย ตามแบบบันทึกเค้าโครงที่กำหนดอาจจะทำเป็นรายบุคคล กลุ่ม รายวิชา หรือทีมสายชั้นตามสภาพปัญหาที่สามารถบูรณาการได้
๕. ดำเนินการวิจัย ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการวิจัย
นำผลงานวิจัยมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มสาระสายชั้น หรือในโรงเรียนตามความเหมาะสม

10.7
การพัฒนาต่อเนื่อง
1. ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่ต้องการพัฒนาผลการเรียน
2. ร้อยละ 5 ของนักเรียนที่ได้รับมูลค่าเพิ่มและแก้ไขผลการเรียนซ่อมเสริม
๑. ทบทวนการประมวลผลการเรียนรู้แต่ละหน่วย และการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๒. รวบรวมรายชื่อ ผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนกลุ่มสูง
๓. ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้น ร่วมกับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายเพื่อแลกเลือกและกำหนดกิจกรรมเพิ่มเติม ตามความสมัครใจ
๔. กลุ่มสาระ/สายชั้น จัดอาจารย์ที่ปรึกษาทำกิจกรรมประสานกับผู้ปกครอง แหล่งประกอบการและทีมทำในระบบดูแลนักเรียน และระบบกิจกรรมนักเรียน
๕. อาจารย์ที่ปรึกษาติดตามให้คำปรึกษารายงานผลการดำเนินการ

15.2
15.3



ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.


๖. นำผลงานนักเรียนมาแลกเปลี่ยนภายใน ภายนอก และประกาศเกียรติคุณตามความเหมาะสม


รายงานผล
ระบบการเรียนรู้
1. ร้อยละ 100 ของครูจัดทำปพ. 5
2. ร้อยละ 100 ของครูจัดทำ SSR
3. ร้อยละ 75 ของครูและนักเรียนแสดงผลงาน
4. ร้อยละ 75 ของเอกสารมีความสมบูรณ์ ชัดเจน
๑. ประชุมร่วมกันกำหนด บันทึกสำคัญและตัวชี้วัดสำคัญ ในการจัดทำสารสนเทศระบบการเรียนรู้
ออกแบบการจัดทำสารสนเทศระบบการเรียนรู้ (เพื่อการรายงานของครูแต่ละคนในแต่ละภาคเรียน ) โดยสารสนเทศควรมีรายละเอียดที่ให้เห็นในประเด็นต่อไปนี้
· ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นตามกระบวนการของระบบตามลำดับ
· ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดด้านปัจจัย กระบวนการและผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบ
· จุดเด่น/ จุดพัฒนาที่ค้นพบจากผลงานของตนจากระบบหลักและระบบสนับสนุน
· ผลสัมฤทธิ์จากผู้เรียนจาก ป.พ. ๕ ที่สอดคล้องกับข้อกำหนด ๑๒.๑ – ๑๒.๑๒
๒. จัดทำสารสนเทศเป็นรายบุคคลตามแบบบันทึกที่กำหนด
รวมเสนอสายชั้น/ กลุ่มสาระเพื่อจัดทำสารสนเทศรวมในขั้นต่อไป

12.2
14.5


















กิจกรรมที่ ๓.๒
การเทียบระดับ ( BMK )
กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
๑.วิธีคำอธิบายรายวิชา และออกแบบหน่วยการเรียนรู้
๑.ประชุมชี้แจงการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
๒. วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา โดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ และแนวทางการวัดประเมินผล
๓.วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับมาตรฐาน ข้อกำหนดของระบบการเรียนรู้
๔.กำหนดหน่วยการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระและเวลาที่ใช้ และกำหนดการสอนให้มีรายละเอียด โดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ เวลา คะแนนและกำหนดวิธีการวัดประเมินผล
๑. ศึกษาหลักสูตร คำอธิบายรายวิชา วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ และแนวทางการวัดประเมินผล
๒. นำสาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังมากำหนดหน่วยการเรียนรู้ และรายละเอียดการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ตามแบบบันทึกที่กำหนด
๓. นำหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชาที่รับผิดชอบเข้าประชุมสายชั้นเพื่อกำหนดหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการแบบต่างๆ ตามนโยบายของโรงเรียน
๔. สังเคราะห์ผลการเรียนรู้จากทุกหน่วยเป็นผลการเรียนรู้ใน ป.พ. ๕ กำหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์การคิดวิเคราะห์อ่านเขียนที่เหมาะสมกับรายวิชาที่สอน พร้อมทั้งกำหนดเกณฑ์การประเมินผล
นำหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชาที่รับผิดชอบเข้าประชุมสายชั้นเพื่อกำหนดหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ
๒.การวิเคราะห์ผู้เรียน
๑. ศึกษาข้อมูลจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในภาคเรียนที่ผ่านมาจาก ป.พ. ทดสอบพื้นฐาน
๒. สำรวจความถนัด ความสนใจในกลุ่มวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๑. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานผู้เรียนเป็นรายบุคคลจากแหล่งข้อมูลหลากหลาย เช่น จาก ป.พ. ๕ ป.พ. ๘ รบ.๓ บัตรสุขภาพ

ประชุมกลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อจัดกลุ่มผู้เรียนที่ต้องปรับพื้นฐานตามสภาพปัญหาและสาเหตุ

กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา

๓. บันทึกข้อมูลวิเคราะห์ผู้เรียน
๒. สังเกต สัมภาษณ์ สอบถามผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมที่ถนัดและสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้
๓. ทดสอบทักษะ ความรู้ พื้นฐาน ตามความเหมาะสมกับรายวิชา
๔. นำข้อมูลจากข้อ ๑- ๓ ที่จำเป็นต่อการจัดการเรียนรู้มาประมวลผลตามแบบบันทึกที่กำหนด
๕. ประชุมกลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อจัดกลุ่มผู้เรียนที่ต้องปรับพื้นฐานตามสภาพปัญหาและสาเหตุ


๓.การปรับพื้นฐานผู้เรียน
๑. ทุกกลุ่มสาระจัดกิจกรรมปรับปรุงพื้นฐานตามสภาพปัญหาของผู้เรียน
๒. จัดกลุ่มนักเรียนตามสภาพความต้องการ แล้วประเมินผล ปรับปรุงพื้นฐาน
๑. ทบทวนปัญหาและสาเหตุของนักเรียนที่จำเป็นต้องปรับพื้นฐาน
๒. ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้นเพื่อเลือกกำหนดรูปแบบและผู้รับผิดชอบในการปรับพื้นฐาน
๓. กำหนดกิจกรรมการปรับพื้นฐานตามรูปแบบที่กำหนดใช้วิธีการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียนและผู้ปกครองตามความเหมาะสมกับปัญหาและสาเหตุ
๔. ประเมินผลการปรับพื้นฐาน
๕. นำผลการปรับพื้นฐานมากำหนดข้อเสนอแนะในการออกแบบเรียนรู้และออกแบบกลุ่มเรียนรู้ในกลุ่มเรียนปกติ
๑.ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้นเพื่อเลือกกำหนดรูปแบบและผู้รับผิดชอบในการปรับพื้นฐาน
๒. กำหนดกิจกรรมการปรับพื้นฐานตามรูปแบบที่กำหนดใช้วิธีการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียนและผู้ปกครองตามความเหมาะสมกับปัญหาและสาเหตุ
กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
๔. การออกแบบการเรียนรู้และการวัดผลในแต่ละหน่วย
-กำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้และมาตรฐาน การศึกษา ให้ครอบคลุมแต่ละหน่วยการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระ- ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ออกแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
๑. นำข้อมูลจากการกำหนดหน่วยการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน การปรับพื้นฐานผู้เรียนมาศึกษา ทบทวน
๒. กำหนดหน่วยการเรียนรู้ย่อยๆ ของแต่ละหน่วยโดยระบุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ( KAP ) และสาระการเรียนรู้ในแผนนั้นๆ
๓. กำหนดพฤติกรรมการเรียนรู้ย่อยๆ ที่สัมพันธ์กับKAP ของแผนและกำหนดแนวทางการวัดที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้
๔. ออกแบบกิจกรรม สื่อการเรียนรู้ ที่เน้นการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ ( Active Learning ) สอดคล้องกับข้อมูลพื้นฐานและการวิเคราะห์ผู้เรียน และมีประสิทธิภาพให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังบรรลุ KAP ได้จริง ( Maximum performance )
แต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ออกแบบกลุ่มเรียนรู้และเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์และทักษะทางสังคมสูงสุด ( Maximum participation )
- ออกแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากกิจกรรมชิ้นงานที่นักเรียนปฏิบัติและสอดคล้องกับแนวทางการวัดที่ออกแบบไว้จากข้อ
- นำข้อมูลจากวิธีการในข้อ ๒-๖ มาจัดทำแนวการจัดการเรียนรู้และการวัดผลในแต่ละหน่วยตามแบบบันทึกที่กำหนด
- นำข้อมูลจากข้อ ๖ มาทำรายละเอียดในแต่ละแผนการเรียนรู้ตาม
กำหนดพฤติกรรมการเรียนรู้ย่อยๆ ที่สัมพันธ์กับKAP ของแผนและกำหนดแนวทางการวัดที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้
ออกแบบกิจกรรม สื่อการเรียนรู้ ที่เน้นการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ สอดคล้องกับข้อมูลพื้นฐานและการวิเคราะห์ผู้เรียน และมีประสิทธิภาพให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังบรรลุ KAP ได้จริง


กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา


- แบบบันทึกที่กำหนด
ประเมินการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ตามแบบประเมินที่กำหนดด้วยตนเอง

๕. การจัดการเรียนรู้
๑. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการเรียนรู้
๒. บันทึกผลการเรียนรู้ให้ครอบคลุมทั้ง K P A รวมทั้งปัญหาและข้อเสนอแนะ
๓. ระบุปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหา
เมื่อนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในแต่ละห้องเรียนให้บันทึกการจัดการเรียนรู้ตามลำดับดังนี้
๑. การปรับเปลี่ยนรายละเอียดในแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับธรรมชาติผู้เรียนในแต่ละห้อง ( ถ้าจำเป็น )
๒. บรรยากาศระหว่างเรียนรู้ เช่น ความเหมาะสมของกิจกรรม สื่อ พฤติกรรมนักเรียนในการเรียนรู้ ความเหมาะสมด้านเวลาเป็นต้น
๓. ประเมินผลการเรียนรู้โดยแยกแยะให้เห็นการบรรลุKAP คุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะคิดวิเคราะห์อ่านเขียนในแผนนั้น
๔. ปัญหา/ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาแผนการเรียนรู้ให้ดีขึ้น
พฤติกรรมการสอนที่ค้นพบและควรพัฒนาตนเองต่อไป
การปรับเปลี่ยนรายละเอียดในแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับธรรมชาติผู้เรียนในแต่ละห้อง




กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
๖. การประมวลผลการเรียนรู้
๑. ประเมินผลนักเรียนจากแผนการจัดการเรียนรู้
๒. ศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนจากบันทึกการจัดการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
๓. จัดกลุ่มนักเรียนที่ผ่าน/ไม่ผ่าน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังด้าน KAP ในแต่ละด้านตามหน่วยการเรียนรู้
ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ให้นำผลการเรียนรู้จากแผนย่อยๆ มาประมวลผล ที่สามารถให้รายละเอียดของนักเรียนแต่ละคนดังนี้
๑. พัฒนาการของการบรรลุผลการเรียนรู้ ( KAP ) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ทักษะการคิดวิเคราะห์ อ่านเขียนจากแผนสู่แผนในหน่วย
๒. วินิจฉัยสาเหตุการไม่บรรลุผล ( สำหรับนักเรียนที่ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด )
๓. มีข้อมูลเสนอแนวทางการพัฒนาหรือปรับปรุงนักเรียนที่ไม่ผ่าน
๔. ประมวลผลนักเรียนที่ตัดสินในหน่วยนั้นให้เชื่อมโยงกับข้อมูลที่ต้องการใน ป.พ. ๕
วินิจฉัยสาเหตุ ( สำหรับนักเรียนที่ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด )โดยร่วมกันของครูที่รับผิดชอบ

๗. การนิเทศภายในและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๑.จัดประชุมนิเทศ
๒. จัดประชุมหัวหน้ากลุ่มสาระในการประชุมคณะกรรมการบริหาร
๓. นิเทศทุกกลุ่มสาระเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๔. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การนิเทศ
จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามกลุ่มสาระหรือสายชั้นตามความเหมาะสมโดยมีตัวแทนทีมนำหรือทีมคุณภาพจากระบบเรียนรู้และระบบอื่นๆ เข้าร่วมประชุมตามความเหมาะสมและให้มีแนวปฏิบัติดังนี้
๑. ผู้สอนแต่ละคนรวบรวมปัญหาและข้อเสนอค้นพบจากขั้นตอนตามกระบวนการที่ผ่านมา ส่งให้หัวหน้ากลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อการประมวลประเด็น
๒.ในแต่ละเดือนให้มีการประชุมกลุ่มสาระ ประชุมสายชั้น ๑ ครั้ง เป็นอย่างน้อย
ผู้สอนแต่ละคนรวบรวมปัญหาและข้อเสนอค้นพบ
ในแต่ละเดือนให้มีการประชุมกลุ่มสาระ ประชุมสายชั้น ๑ ครั้ง เป็นอย่างน้อย
กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา


๓.ร่วมกันลำดับความสำคัญของปัญหา เสนอแนวทางการแก้ไขที่เกิดจากระบบเรียนรู้และระบบอื่นๆ จากตัวอย่าง ที่ประสบความสำเร็จ
๔.บันทึกผลการนิเทศภายในและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแบบบันทึกที่กำหนด
๕.ประเมินผลความพึงพอใจการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแบบประเมิน
๖.หัวหน้าสายชั้น/หัวหน้ากลุ่ม สาระ บันทึกผลการประชุมเสนอทีมทำ ทีมพัฒนาคุณภาพ ระบบอื่นๆ เพื่อประสานการแก้ปัญหาร่วมกัน

๘. การวิจัยปรับปรุง
๑.ศึกษาวิเคราะห์พัฒนานักเรียนที่ไม่ผ่านผลการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ตามสภาพของแต่ละบุคคล/กลุ่ม
๒. ดำเนินการแก้ไข/ซ่อมเสริม โดยใช้หลักการประเมินผลเพื่อพัฒนา
- ประเมินรายหน่วยการเรียนรู้
- ประเมินและพัฒนาเป็นรายวิชา
- ประเมินสอบแก้ตัวเพื่อการซ่อมเสริม
๓.การพัฒนานวตกรรม การทำวิจัยชั้นเรียน
๔. ดำเนินการวิจัย ติดตาม ประเมินผล และรายงานการวิจัยวิจัยในชั้นเรียนที่พบปัญหา
๑. ทบทวนการประมวลผลการเรียนรู้แต่ละหน่วยและการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน
๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ สำหรับกลุ่มที่ตัดสินผลไม่ผ่านในหน่วยนั้นๆ
๓. ศึกษานวตกรรม วิธีการวิจัยชั้นเรียน จากคู่มือที่กำหนด
๔. ออกแบบการวิจัย ตามแบบบันทึกเค้าโครงที่กำหนดอาจจะทำเป็นรายบุคคล กลุ่ม รายวิชา หรือทีมสายชั้นตามสภาพปัญหาที่สามารถบูรณาการได้
๕. ดำเนินการวิจัย ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการวิจัย
๖. นำผลงานวิจัยมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มสาระสายชั้น หรือในโรงเรียนตามความเหมาะสม
ขั้นตอนการทำวิจัยสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน


กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา

ต้องการพัฒนาจากบันทึก
หลังการสอน เช่นเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์นักเรียน


๙. การพัฒนาต่อเนื่อง ส่งเสริมเด็กเก่ง
๑. นักเรียนมีโอกาสพัฒนาผลการเรียนรู้เป็นรายหน่วย/รายวิชาตามข้อกำหนดของกลุ่มสาระ
๒. นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์จะใช้วิธีการประเมินมูลค่าเพิ่มและแก้ไขผลการเรียนเพื่อการซ่อมเสริม
๓. กำหนดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมนักเรียนและผู้รับผิดชอบ
๑. ทบทวนการประมวลผลการเรียนรู้แต่ละหน่วย และการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๒. รวบรวมรายชื่อ ผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนกลุ่มสูง
๓. ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้น ร่วมกับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายเพื่อแลกเลือกและกำหนดกิจกรรมเพิ่มเติม ตามความสมัครใจ
๔. กลุ่มสาระ/สายชั้น จัดอาจารย์ที่ปรึกษาทำกิจกรรมประสานกับผู้ปกครอง แหล่งประกอบการและทีมทำในระบบดูแลนักเรียน และระบบกิจกรรมนักเรียน
๕. อาจารย์ที่ปรึกษาติดตามให้คำปรึกษารายงานผลการดำเนินการ
๖. นำผลงานนักเรียนมาแลกเปลี่ยนภายใน ภายนอก และประกาศเกียรติคุณตามความเหมาะสม


หลังการรวบรวมรายชื่อครูกลุ่มสาระ/สายชั้น จัดอาจารย์ที่ปรึกษาทำกิจกรรมประสานกับผู้ปกครอง แหล่งประกอบการและทีมทำในระบบดูแลนักเรียน และระบบกิจกรรมนักเรียน

กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
๑๐. การรายงานผลระบบการเรียนรู้
๑. ครูจัดทำกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคนตามแบบ ปพ. 5
๒. ครูทุกคนจัดทำ SSR รายบุคคลของผู้สอน/กลุ่มสาระ/ระดับโรงเรียน
๓. ทุกกลุ่มสาระจัดแสดงผลงานของครูและนักเรียน
๔. ทบทวน สรุปผลการเรียนรู้ ทุกภาคเรียน / ปี
๑. ประชุมร่วมกันกำหนด บันทึกสำคัญและตัวชี้วัดสำคัญ ในการจัดทำสารสนเทศระบบการเรียนรู้
๒. ออกแบบการจัดทำสารสนเทศระบบการเรียนรู้ (เพื่อการรายงานของครูแต่ละคนในแต่ละภาคเรียน ) โดยสารสนเทศควรมีรายละเอียดที่ให้เห็นในประเด็นต่อไปนี้

· ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นตามกระบวนการของระบบตามลำดับ
· ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดด้านปัจจัย กระบวนการและผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบ
· จุดเด่น/ จุดพัฒนาที่ค้นพบจากผลงานของตนจากระบบหลักและระบบสนับสนุน
· ผลสัมฤทธิ์จากผู้เรียนจาก ป.พ. ๕ ที่สอดคล้องกับข้อกำหนด ๑๒.๑ – ๑๒.๑๒
๓. จัดทำสารสนเทศเป็นรายบุคคลตามแบบบันทึกที่กำหนด
๔. รวมเสนอสายชั้น/ กลุ่มสาระเพื่อจัดทำสารสนเทศรวมในขั้นต่อไป
การจัดทำระบบสารสนเทศให้เกิดประโยชน์และเป็นไปในทางเดียวกัน

ใบกิจกรรมที่ ๓.๓
ระบบการเรียนรู้

กระบวนการของระบบ
ประเด็นที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
แนวคิดประยุกต์ในการจัดการในโรงเรียนของตน
๑.การวิเคราะห์คำอธิบายรายวิชาและจัดทำหน่วยการเรียนรู้
นำหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชาที่รับผิดชอบเข้าประชุมสายชั้นเพื่อกำหนดหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การให้ครูที่รับผิดชอบในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้กำหนดหน่วยการเรียนรู้ที่รับผิดชอบจากนั้นร่วมกันนำหน่วยการเรียนรู้ในรายสาระที่รับผิดชอบมาร่วมประชุมเพื่อบูรณาการร่วมกันในระดับชั้น

๒.การวิเคราะห์ผู้เรียน
ประชุมกลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อจัดกลุ่มผู้เรียนที่ต้องปรับพื้นฐานตามสภาพปัญหาและสาเหตุ
หลังจากที่ครูประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือครูประจำชั้นได้ศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคลแล้วก็มีการประชุมกลุ่มกันเพื่อร่วมกันจัดกลุ่มนักเรียนเพื่อประโยชน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการปรับพื้นฐานนักเรียน และการส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถ นอกจากนี้ยังเป็นการร่วมกันหาข้อมูลเพิ่มเติมได้อีกด้วย
๓. การปรับพื้นฐานผู้เรียน
๑.ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้นเพื่อเลือกกำหนดรูปแบบและผู้รับผิดชอบในการปรับพื้นฐาน

การประชุมครูในระดับสายชั้นและกลุ่มสาระเพื่อกำหนดการปรับพื้นฐานนักเรียนร่วมกัน

กระบวนการของระบบ
ประเด็นที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
แนวคิดประยุกต์ในการจัดการในโรงเรียนของตน

๒. กำหนดกิจกรรมการปรับพื้นฐานตามรูปแบบที่กำหนดใช้วิธีการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียนและผู้ปกครองตามความเหมาะสมกับปัญหาและสาเหตุ

การประชุมร่วมกันระหว่าง ครู นักเรียน ผู้ปกครอง เพื่อกำหนดกิจกรรมในการปรับพื้นฐาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือกัน และกำหนดกิจกรรมได้เหมาะสมกับปัญหาด้วย
๔. การออกแบบการเรียนรู้และการวัดผล
กำหนดพฤติกรรมการเรียนรู้ย่อยๆ ที่สัมพันธ์กับKAP ของแผนและกำหนดแนวทางการวัดที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้
ออกแบบกิจกรรม สื่อการเรียนรู้ ที่เน้นการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ สอดคล้องกับข้อมูลพื้นฐานและการวิเคราะห์ผู้เรียน และมีประสิทธิภาพให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังบรรลุ KAP ได้จริง

เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดการออกแบบการเรียนรู้ควรให้มีความสอดคล้องกัน ระหว่างพฤติกรรมการเรียนรู้และการกำหนดกิจกรรม สื่อ โดยในการกำหนดต้องศึกษาถึงข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน ด้วย
๕. การจัดการเรียนรู้
การปรับเปลี่ยนรายละเอียดในแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับธรรมชาติผู้เรียนในแต่ละห้อง
การปรับเปลี่ยนแผนการเรียนรู้ให้มีความเหมาะสมกันผู้เรียน ในแต่ละห้องเพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีความเหมาะสมตามสภาพของผู้เรียนอย่างแท้จริง

กระบวนการของระบบ
ประเด็นที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
แนวคิดประยุกต์ในการจัดการในโรงเรียนของตน
๖.การประมวลผลการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย
วินิจฉัยสาเหตุ ( สำหรับนักเรียนที่ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด )โดยร่วมกันของครูที่รับผิดชอบ

เมื่อประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนแล้วมีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ครูในแต่ละกลุ่มสาระที่รับผิดชอบในระดับชั้นควรร่วมกันหาสาเหตุของปัญหาที่นักเรียนไม่ผ่านเพื่อกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกันและจัดทำบันทึกการช่วยเหลือนักเรียนเพื่อไม่เกิดความซ้ำซ้อนการช่วยเหลือนักเรียน
๗. การนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผู้สอนแต่ละคนรวบรวมปัญหาและข้อเสนอค้นพบ
ในแต่ละเดือนให้มีการประชุมกลุ่มสาระ ประชุมสายชั้น ๑ ครั้ง เป็นอย่างน้อย
ก่อนจัดกิจกรรมการนิเทศ ครูผู้สอนควรรวบรวมปัญหาร่วมกัน และกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อสามารถหาแนวทางร่วมกันได้และควรมีการประชุมอย่างไม่เป็นทางการระหว่างกลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อดูการแก้ปัญหา และการพัฒนาร่วมกัน
๘. การวิจัยชั้นเรียน
ขั้นตอนการทำวิจัยสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
การทำวิจัยควรมีขั้นตอนตั้งแต่ก่อนการทำวิจัย ไปสู่การนำวิจัยที่ได้ไปเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ร่วมกันโดยการทำวิจัยมีขั้นตอนที่สามารถไปใช้คือ
๑. ทบทวนการประมวลผลการเรียนรู้แต่ละหน่วยและการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน
๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ สำหรับ

กระบวนการของระบบ
ประเด็นที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
แนวคิดประยุกต์ในการจัดการในโรงเรียนของตน


กลุ่มที่ตัดสินผลไม่ผ่านในหน่วยนั้นๆ
๓.ศึกษานวตกรรม วิธีการวิจัยชั้นเรียน จากคู่มือที่กำหนด
๔.ออกแบบการวิจัย ตามแบบบันทึกเค้าโครงที่กำหนดอาจจะทำเป็นรายบุคคล กลุ่ม รายวิชา หรือทีมสายชั้นตามสภาพปัญหาที่สามารถบูรณาการได้
๕. ดำเนินการวิจัย ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการวิจัย
๖. นำผลงานวิจัยมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มสาระสายชั้น หรือในโรงเรียนตามความเหมาะสม
๙. การพัฒนา เสริมเด็กเก่ง
หลังการรวบรวมรายชื่อครูกลุ่มสาระ/สายชั้น จัดอาจารย์ที่ปรึกษาทำกิจกรรมประสานกับผู้ปกครอง และทีมทำในระบบดูแลนักเรียน และระบบกิจกรรมนักเรียน

การกำหนดกิจกรรมร่วมกันระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง ในการส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ
กระบวนการของระบบ
ประเด็นที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
แนวคิดประยุกต์ในการจัดการในโรงเรียนของตน
๑๐. รายงานผลระบบการเรียนรู้
การจัดทำระบบสารสนเทศให้เกิดประโยชน์และเป็นไปในทางเดียวกัน
โรงเรียนควรร่วมกันกำหนดรูปแบบของการจัดทำสารสนเทศร่วมกัน เพื่อให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน และเป็นระบบเดียวกัน เช่น หลักฐานการเก็บคะแนน การประเมินผลการเรียน นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์ในการส่งต่อข้อมูลระหว่างสายชั้น เป็นต้น