การกำหนดยุทธศาสตร์
ของโรงเรียนบ้านปลายเส
จุดเน้น
ยุทธศาสตร์ปรับปรุง
ยุทธศาสตร์ดำรงรักษา
ระบบหลัก
ระบบสนับสนุนที่จะดำเนินการควบคู่ระบบหลัก
ระบบหลัก
ระบบสนับสนุนที่จะดำเนินการควบคู่ระบบหลัก
ปีการศึกษา 2552ภาคเรียนที่ 2
-ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
-ระบบพัฒนาบุคลากร
- ระบบสารสนเทศ
-ระบบดูแลคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ
-
-
ปีการศึกษา 2553ภาคเรียนที่ 1
-ระบบการเรียนรู้
-ระบบการบริหารจัดการ
- ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
-ระบบพัฒนาบุคลากร
-ระบบสารสนเทศ
-ระบบดูแลคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ
ปีการศึกษา 2553ภาคเรียนที่ 2
-ระบบกิจกรรมนักเรียน
-ระบบชุมชนสัมพันธ์
-ระบบการเรียนรู้
-ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
-ระบบพัฒนาบุคลากร
- ระบบสารสนเทศ
-ระบบการบริหารจัดการ
ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 1
-
-
ทุกระบบ
ทุกระบบ
การกำหนดยุทธศาสตร์
จุดเน้น
ยุทธศาสตร์ปรับปรุง
ยุทธศาสตร์ดำรงรักษา
ระบบหลัก
ระบบสนับสนุนที่จะดำเนินการควบคู่ระบบหลัก
ระบบหลัก
ระบบสนับสนุนที่จะดำเนินการควบคู่ระบบหลัก
ปีการศึกษา 2552ภาคเรียนที่ 2
-ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
-ระบบพัฒนาบุคลากร
- ระบบสารสนเทศ
-ระบบดูแลคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ
-
-
ปีการศึกษา 2553ภาคเรียนที่ 1
-ระบบการเรียนรู้
-ระบบการบริหารจัดการ
- ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
-ระบบพัฒนาบุคลากร
-ระบบสารสนเทศ
-ระบบดูแลคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ
ตารางวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ระบบการเรียนรู้
มาตรฐาน/ข้อกำหนด
ผลการวิเคราะห์
ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์
เป็นจุดอ่อน
เป็นจุดแข็ง
๑.การวิเคราะห์คำอธิบายรายวิชาและจัดทำหน่วยการเรียนรู้
/
โรงเรียนมีการศึกษาคำอธิบายรายวิชาวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ ทำหน่วยการเรียนรู้ ที่สอนโดยครูทำครบทุกขั้นตอนร้อยละ ๘๐
๒.การวิเคราะห์ผู้เรียน
/
โรงเรียนมีการศึกษาข้อมูลพื้นฐานนักเรียนอย่างหลากหลาย ร้อยละ ๑๐๐
๓. การปรับพื้นฐานผู้เรียน
/
โรงเรียนได้ทำการปรับพื้นฐานนักเรียน
๔. การออกแบบการเรียนรู้และการวัดผล
/
โรงเรียนยังขาดระบบในการออกแบบการเรียนรู้ที่ครบขั้นตอน
๕. การจัดการเรียนรู้
/
โรงเรียนมีการจัดการเรียนรู้ที่บันทึกการจัดการเรียนรู้ตามวิธีการที่กำหนด
๖.การประมวลผลการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย
/
โรงเรียนมีการประเมินผลการเรียนรู้ตามวิธีการที่กำหนดไม่ครบทุกหน่วยการเรียนรู้
๗. การนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้
/
โรงเรียนมีการจัดระบบการนิเทศภายในอย่างสม่ำเสมอ
๘. การวิจัยชั้นเรียน
/
ครูมีการทำวิจัยชั้นเรียนเพียงร้อยละ ๖๐
๙. การพัฒนา เสริมเด็กเก่ง
/
- นักเรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
-โรงเรียนมีการพัฒนานักเรียนที่มีความสามารถพิเศษอย่างต่อเนื่อง
๑๐. รายงานผลระบบการเรียนรู้
/
โรงเรียนยังไม่มีระบบการจัดทำรายงานสารสนเทศงานระบบการเรียนรู้ที่เป็นระบบ
สรุประบบการเรียนรู้ยังเป็นจุดอ่อน
ตารางวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มาตรฐาน/ข้อกำหนด
ผลการวิเคราะห์
ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์
เป็นจุดอ่อน
เป็นจุดแข็ง
๑. จัดครูที่ปรึกษา
/
นักเรียนมีครูที่ปรึกษาในอัตราที่กำหนด
( ๑ / ๑๒ คน )
๒. รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
/
นักเรียนมีระเบียนสะสมที่มีข้อมูลครบสมบูรณ์ร้อยละ ๙๘
นักเรียนร้อยละ ๘๐ ได้รับการเยี่ยมบ้าน
๓. คัดกรองนักเรียน
/
โรงเรียนได้จัดทำระบบคัดกรองนักเรียนทุกคน
๔. การแก้ปัญหานักเรียน
/
โรงเรียนมีการจัดทำระบบการแก้ปัญหานักเรียนที่มีปัญหา เช่น สอนซ่อมเสริม ประชุมผู้ปกครอง จัดกิจกรรมเสริม
๕. ส่งเสริมทักษะชีวิต
/
โรงเรียนจัดกิจกรรมพัฒนาส่งเสริมทักษะชีวิตแต่ยังขาดความต่อเนื่องและสม่ำเสมอ และขาดระบบการจัดการ
๖. ร่วมมือกับผู้ปกครอง
/
ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่างๆ
ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมประชุมชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอ
๗. สรุปรายงานผลข้อมูลสารสนเทศ
/
โรงเรียนยังไม่มีระบบการจัดทำรายงานสารสนเทศงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เป็นระบบ
สรุปด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียนป็นจุดแข็ง
ใบกิจกรรมที่ ๓.๑
วิธีปฏิบัติ และตัวชี้วัดของระบบ
ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.
วิธีคำอธิบายรายวิชา และออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ร้อยละ ๑๐๐ ของหลักสูตรมีความสมบูรณ์ถูกต้อง
ร้อยละ ๘๐ ของรายวิชาที่มีการวิเคราะห์และจัดทำหน่วยตามวิธีการที่กำหนด
ร้อยละ ๘๐ ของครูที่มีการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ร้อยละ ๘๐ ของครูที่มีการกำหนดหน่วยการเรียนรู้และกำหนดการสอน
๑. ศึกษาหลักสูตร คำอธิบายรายวิชา วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ และแนวทางการวัดประเมินผล
๒. นำสาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังมากำหนดหน่วยการเรียนรู้ และรายละเอียดการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ตามแบบบันทึกที่กำหนด
๓. นำหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชาที่รับผิดชอบเข้าประชุมสายชั้นเพื่อกำหนดหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการแบบต่างๆ ตามนโยบายของโรงเรียน
๔. สังเคราะห์ผลการเรียนรู้จากทุกหน่วยเป็นผลการเรียนรู้ใน ป.พ. ๕ กำหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์การคิดวิเคราะห์อ่านเขียนที่เหมาะสมกับรายวิชาที่สอน พร้อมทั้งกำหนดเกณฑ์การประเมินผล
10.1
14.1
วิเคราะห์ผู้เรียน
ร้อยละ ๘๐ ของครูที่มีการวิเคราะห์ผู้เรียน
ร้อยละ ๘๐ ของครูที่มีการทดสอบพื้นฐานของนักเรียน
ร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียนที่ได้รับการสำรวจข้อมูล
ร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียนได้รับการบันทึก
๑. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานผู้เรียนเป็นรายบุคคลจากแหล่งข้อมูลหลากหลาย เช่น จาก ป.พ. ๕ ป.พ. ๘ รบ.๓ บัตรสุขภาพ
๒. สังเกต สัมภาษณ์ สอบถามผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมที่ถนัดและสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้
๓. ทดสอบทักษะ ความรู้ พื้นฐาน ตามความเหมาะสมกับรายวิชา
๔. นำข้อมูลจากข้อ ๑- ๓ ที่จำเป็นต่อการจัดการเรียนรู้มาประมวลผลตามแบบ
10.2
ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.
บันทึกที่กำหนด
๕. ประชุมกลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อจัดกลุ่มผู้เรียนที่ต้องปรับพื้นฐานตามสภาพปัญหาและสาเหตุ
ปรับพื้นฐาน
ร้อยละ ๕๐ ของนักเรียนที่ได้รับการปรับพื้นฐาน
๑. ทบทวนปัญหาและสาเหตุของนักเรียนที่จำเป็นต้องปรับพื้นฐาน
๒. ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้นเพื่อเลือกกำหนดรูปแบบและผู้รับผิดชอบในการปรับพื้นฐาน
๓. กำหนดกิจกรรมการปรับพื้นฐานตามรูปแบบที่กำหนดใช้วิธีการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียนและผู้ปกครองตามความเหมาะสมกับปัญหาและสาเหตุ
๔. ประเมินผลการปรับพื้นฐาน
๕. นำผลการปรับพื้นฐานมากำหนดข้อเสนอแนะในการออกแบบเรียนรู้และออกแบบกลุ่มเรียนรู้ในกลุ่มเรียนปกติ
10.2
ออกแบบแผนการเรียนรู้และประเมินแต่ละหน่วย
ร้อยละ ๘๐ ที่มีการบันทึกการออกแบบการเรียนรู้
ร้อยละ ๘๐ ของครูที่มีการจัดทำแผนการเรียนรู้
๑. นำข้อมูลจากการกำหนดหน่วยการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน การปรับพื้นฐานผู้เรียนมาศึกษา ทบทวน
๒. กำหนดหน่วยการเรียนรู้ย่อยๆ ของแต่ละหน่วยโดยระบุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ( KAP ) และสาระการเรียนรู้ในแผนนั้นๆ
๓. กำหนดพฤติกรรมการเรียนรู้ย่อยๆ ที่สัมพันธ์กับKAP ของแผนและกำหนดแนวทางการวัดที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้
๔. ออกแบบกิจกรรม สื่อการเรียนรู้ ที่เน้นการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ ( Active
10.3
14.2
ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.
๕. Learning ) สอดคล้องกับข้อมูลพื้นฐานและการวิเคราะห์ผู้เรียน และมีประสิทธิภาพให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังบรรลุ KAP ได้จริง ( Maximum performance )
แต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ออกแบบกลุ่มเรียนรู้และเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์และทักษะทางสังคมสูงสุด ( Maximum participation )
๖. ออกแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากกิจกรรมชิ้นงานที่นักเรียนปฏิบัติและสอดคล้องกับแนวทางการวัดที่ออกแบบไว้จากข้อ ๓
๗. นำข้อมูลจากวิธีการในข้อ ๒-๖ มาจัดทำแนวการจัดการเรียนรู้และการวัดผลในแต่ละหน่วยตามแบบบันทึกที่กำหนด
นำข้อมูลจากข้อ ๖ มาทำรายละเอียดในแต่ละแผนการเรียนรู้ตาม
การจัดการเรียนรู้
1. ร้อยละ 75 ของครูที่จัดกิจกรรมตามแผน
2. ร้อยละ 75 ของนักเรียนคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ และคุณลักษณะการคิดวิเคราะห์ อ่าน เขียน
เมื่อนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในแต่ละห้องเรียนให้บันทึกการจัดการเรียนรู้ตามลำดับดังนี้
๑. การปรับเปลี่ยนรายละเอียดในแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับธรรมชาติผู้เรียนในแต่ละห้อง ( ถ้าจำเป็น )
๒. บรรยากาศระหว่างเรียนรู้ เช่น ความเหมาะสมของกิจกรรม สื่อ พฤติกรรมนักเรียนในการเรียนรู้ ความเหมาะสมด้านเวลาเป็นต้น
10.3
10.4
14.3
14.4
ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.
๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะคิดวิเคราะห์อ่านเขียนในแผนนั้น
๔. ปัญหา/ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาแผนการเรียนรู้ให้ดีขึ้น
พฤติกรรมการสอนที่ค้นพบและควรพัฒนาตนเองต่อไป
ประเมินผลการเรียนรู้แต่ละหน่วย
1. ร้อยละ 5 ของนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ให้นำผลการเรียนรู้จากแผนย่อยๆ มาประมวลผล ที่สามารถให้รายละเอียดของนักเรียนแต่ละคนดังนี้
๑. พัฒนาการของการบรรลุผลการเรียนรู้ ( KAP ) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ทักษะการคิดวิเคราะห์ อ่านเขียนจากแผนสู่แผนในหน่วยนั้นๆ
๒. วินิจฉัยสาเหตุการไม่บรรลุผล ( สำหรับนักเรียนที่ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด )
๓. มีข้อมูลเสนอแนวทางการพัฒนาหรือปรับปรุงนักเรียนที่ไม่ผ่าน
ประมวลผลนักเรียนที่ตัดสินในหน่วยนั้นให้เชื่อมโยงกับข้อมูลที่ต้องการใน ป.พ. ๕
10.5
10.6
ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.
การนิเทศภายในและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1. ร้อยละ 75 ของครูที่ได้รับการนิเทศ
จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามกลุ่มสาระหรือสายชั้นตามความเหมาะสมโดยมีตัวแทนทีมนำหรือทีมคุณภาพจากระบบเรียนรู้และระบบอื่นๆ เข้าร่วมประชุมตามความเหมาะสมและให้มีแนวปฏิบัติดังนี้
๑. ผู้สอนแต่ละคนรวบรวมปัญหาและข้อเสนอค้นพบจากขั้นตอนตามกระบวนการที่ผ่านมา ส่งให้หัวหน้ากลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อการประมวลประเด็น
๒. ในแต่ละเดือนให้มีการประชุมกลุ่มสาระ ประชุมสายชั้น ๑ ครั้ง เป็นอย่างน้อยผู้สอนแต่ละคนรวบรวมปัญหาและข้อเสนอค้นพบจากขั้นตอนตามกระบวนการที่ผ่านมา ส่งให้หัวหน้ากลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อการประมวลประเด็น
ในแต่ละเดือนให้มีการประชุมกลุ่มสาระ ประชุมสายชั้น ๑ ครั้ง เป็นอย่างน้อย
๓. ร่วมกันลำดับความสำคัญของปัญหา เสนอแนวทางการแก้ไขที่เกิดจากระบบเรียนรู้และระบบอื่นๆ จากตัวอย่าง ที่ประสบความสำเร็จ
๔. บันทึกผลการนิเทศภายในและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแบบบันทึกที่กำหนด
๕. ประเมินผลความพึงพอใจการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแบบประเมิน
หัวหน้าสายชั้น/หัวหน้ากลุ่ม สาระ บันทึกผลการประชุมเสนอ
14.6
ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.
การวิจัยปรับปรุง
1.ร้อยละ 5 ของนักเรียนที่สอบไม่ผ่านในการแก้ไขผลการเรียนเพื่อ
การซ่อมเสริม
2. ร้อยละ 95 ของนักเรียนทั้งหมดที่ต้องการพัฒนา
3. ร้อยละ ๖๐ ของครูที่มีการทำวิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
๑. ทบทวนการประมวลผลการเรียนรู้แต่ละหน่วยและการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน
๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ สำหรับกลุ่มที่ตัดสินผลไม่ผ่านในหน่วยนั้นๆ
๓. ศึกษานวตกรรม วิธีการวิจัยชั้นเรียน จากคู่มือที่กำหนด
๔. ออกแบบการวิจัย ตามแบบบันทึกเค้าโครงที่กำหนดอาจจะทำเป็นรายบุคคล กลุ่ม รายวิชา หรือทีมสายชั้นตามสภาพปัญหาที่สามารถบูรณาการได้
๕. ดำเนินการวิจัย ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการวิจัย
นำผลงานวิจัยมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มสาระสายชั้น หรือในโรงเรียนตามความเหมาะสม
10.7
การพัฒนาต่อเนื่อง
1. ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่ต้องการพัฒนาผลการเรียน
2. ร้อยละ 5 ของนักเรียนที่ได้รับมูลค่าเพิ่มและแก้ไขผลการเรียนซ่อมเสริม
๑. ทบทวนการประมวลผลการเรียนรู้แต่ละหน่วย และการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๒. รวบรวมรายชื่อ ผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนกลุ่มสูง
๓. ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้น ร่วมกับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายเพื่อแลกเลือกและกำหนดกิจกรรมเพิ่มเติม ตามความสมัครใจ
๔. กลุ่มสาระ/สายชั้น จัดอาจารย์ที่ปรึกษาทำกิจกรรมประสานกับผู้ปกครอง แหล่งประกอบการและทีมทำในระบบดูแลนักเรียน และระบบกิจกรรมนักเรียน
๕. อาจารย์ที่ปรึกษาติดตามให้คำปรึกษารายงานผลการดำเนินการ
15.2
15.3
ขั้นตอนทำอะไร
( What )
เป้าหมาย
วิธีปฏิบัติ
สอดคล้องกับมาตรฐาน
สช.
สมศ.
๖. นำผลงานนักเรียนมาแลกเปลี่ยนภายใน ภายนอก และประกาศเกียรติคุณตามความเหมาะสม
รายงานผล
ระบบการเรียนรู้
1. ร้อยละ 100 ของครูจัดทำปพ. 5
2. ร้อยละ 100 ของครูจัดทำ SSR
3. ร้อยละ 75 ของครูและนักเรียนแสดงผลงาน
4. ร้อยละ 75 ของเอกสารมีความสมบูรณ์ ชัดเจน
๑. ประชุมร่วมกันกำหนด บันทึกสำคัญและตัวชี้วัดสำคัญ ในการจัดทำสารสนเทศระบบการเรียนรู้
ออกแบบการจัดทำสารสนเทศระบบการเรียนรู้ (เพื่อการรายงานของครูแต่ละคนในแต่ละภาคเรียน ) โดยสารสนเทศควรมีรายละเอียดที่ให้เห็นในประเด็นต่อไปนี้
· ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นตามกระบวนการของระบบตามลำดับ
· ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดด้านปัจจัย กระบวนการและผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบ
· จุดเด่น/ จุดพัฒนาที่ค้นพบจากผลงานของตนจากระบบหลักและระบบสนับสนุน
· ผลสัมฤทธิ์จากผู้เรียนจาก ป.พ. ๕ ที่สอดคล้องกับข้อกำหนด ๑๒.๑ – ๑๒.๑๒
๒. จัดทำสารสนเทศเป็นรายบุคคลตามแบบบันทึกที่กำหนด
รวมเสนอสายชั้น/ กลุ่มสาระเพื่อจัดทำสารสนเทศรวมในขั้นต่อไป
12.2
14.5
กิจกรรมที่ ๓.๒
การเทียบระดับ ( BMK )
กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
๑.วิธีคำอธิบายรายวิชา และออกแบบหน่วยการเรียนรู้
๑.ประชุมชี้แจงการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
๒. วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา โดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ และแนวทางการวัดประเมินผล
๓.วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับมาตรฐาน ข้อกำหนดของระบบการเรียนรู้
๔.กำหนดหน่วยการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระและเวลาที่ใช้ และกำหนดการสอนให้มีรายละเอียด โดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ เวลา คะแนนและกำหนดวิธีการวัดประเมินผล
๑. ศึกษาหลักสูตร คำอธิบายรายวิชา วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ และแนวทางการวัดประเมินผล
๒. นำสาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังมากำหนดหน่วยการเรียนรู้ และรายละเอียดการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ตามแบบบันทึกที่กำหนด
๓. นำหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชาที่รับผิดชอบเข้าประชุมสายชั้นเพื่อกำหนดหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการแบบต่างๆ ตามนโยบายของโรงเรียน
๔. สังเคราะห์ผลการเรียนรู้จากทุกหน่วยเป็นผลการเรียนรู้ใน ป.พ. ๕ กำหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์การคิดวิเคราะห์อ่านเขียนที่เหมาะสมกับรายวิชาที่สอน พร้อมทั้งกำหนดเกณฑ์การประเมินผล
นำหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชาที่รับผิดชอบเข้าประชุมสายชั้นเพื่อกำหนดหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ
๒.การวิเคราะห์ผู้เรียน
๑. ศึกษาข้อมูลจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในภาคเรียนที่ผ่านมาจาก ป.พ. ทดสอบพื้นฐาน
๒. สำรวจความถนัด ความสนใจในกลุ่มวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๑. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานผู้เรียนเป็นรายบุคคลจากแหล่งข้อมูลหลากหลาย เช่น จาก ป.พ. ๕ ป.พ. ๘ รบ.๓ บัตรสุขภาพ
ประชุมกลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อจัดกลุ่มผู้เรียนที่ต้องปรับพื้นฐานตามสภาพปัญหาและสาเหตุ
กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
๓. บันทึกข้อมูลวิเคราะห์ผู้เรียน
๒. สังเกต สัมภาษณ์ สอบถามผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมที่ถนัดและสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้
๓. ทดสอบทักษะ ความรู้ พื้นฐาน ตามความเหมาะสมกับรายวิชา
๔. นำข้อมูลจากข้อ ๑- ๓ ที่จำเป็นต่อการจัดการเรียนรู้มาประมวลผลตามแบบบันทึกที่กำหนด
๕. ประชุมกลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อจัดกลุ่มผู้เรียนที่ต้องปรับพื้นฐานตามสภาพปัญหาและสาเหตุ
๓.การปรับพื้นฐานผู้เรียน
๑. ทุกกลุ่มสาระจัดกิจกรรมปรับปรุงพื้นฐานตามสภาพปัญหาของผู้เรียน
๒. จัดกลุ่มนักเรียนตามสภาพความต้องการ แล้วประเมินผล ปรับปรุงพื้นฐาน
๑. ทบทวนปัญหาและสาเหตุของนักเรียนที่จำเป็นต้องปรับพื้นฐาน
๒. ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้นเพื่อเลือกกำหนดรูปแบบและผู้รับผิดชอบในการปรับพื้นฐาน
๓. กำหนดกิจกรรมการปรับพื้นฐานตามรูปแบบที่กำหนดใช้วิธีการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียนและผู้ปกครองตามความเหมาะสมกับปัญหาและสาเหตุ
๔. ประเมินผลการปรับพื้นฐาน
๕. นำผลการปรับพื้นฐานมากำหนดข้อเสนอแนะในการออกแบบเรียนรู้และออกแบบกลุ่มเรียนรู้ในกลุ่มเรียนปกติ
๑.ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้นเพื่อเลือกกำหนดรูปแบบและผู้รับผิดชอบในการปรับพื้นฐาน
๒. กำหนดกิจกรรมการปรับพื้นฐานตามรูปแบบที่กำหนดใช้วิธีการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียนและผู้ปกครองตามความเหมาะสมกับปัญหาและสาเหตุ
กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
๔. การออกแบบการเรียนรู้และการวัดผลในแต่ละหน่วย
-กำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้และมาตรฐาน การศึกษา ให้ครอบคลุมแต่ละหน่วยการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระ- ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ออกแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
๑. นำข้อมูลจากการกำหนดหน่วยการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน การปรับพื้นฐานผู้เรียนมาศึกษา ทบทวน
๒. กำหนดหน่วยการเรียนรู้ย่อยๆ ของแต่ละหน่วยโดยระบุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ( KAP ) และสาระการเรียนรู้ในแผนนั้นๆ
๓. กำหนดพฤติกรรมการเรียนรู้ย่อยๆ ที่สัมพันธ์กับKAP ของแผนและกำหนดแนวทางการวัดที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้
๔. ออกแบบกิจกรรม สื่อการเรียนรู้ ที่เน้นการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ ( Active Learning ) สอดคล้องกับข้อมูลพื้นฐานและการวิเคราะห์ผู้เรียน และมีประสิทธิภาพให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังบรรลุ KAP ได้จริง ( Maximum performance )
แต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ออกแบบกลุ่มเรียนรู้และเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์และทักษะทางสังคมสูงสุด ( Maximum participation )
- ออกแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากกิจกรรมชิ้นงานที่นักเรียนปฏิบัติและสอดคล้องกับแนวทางการวัดที่ออกแบบไว้จากข้อ
- นำข้อมูลจากวิธีการในข้อ ๒-๖ มาจัดทำแนวการจัดการเรียนรู้และการวัดผลในแต่ละหน่วยตามแบบบันทึกที่กำหนด
- นำข้อมูลจากข้อ ๖ มาทำรายละเอียดในแต่ละแผนการเรียนรู้ตาม
กำหนดพฤติกรรมการเรียนรู้ย่อยๆ ที่สัมพันธ์กับKAP ของแผนและกำหนดแนวทางการวัดที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้
ออกแบบกิจกรรม สื่อการเรียนรู้ ที่เน้นการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ สอดคล้องกับข้อมูลพื้นฐานและการวิเคราะห์ผู้เรียน และมีประสิทธิภาพให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังบรรลุ KAP ได้จริง
กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
- แบบบันทึกที่กำหนด
ประเมินการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ตามแบบประเมินที่กำหนดด้วยตนเอง
๕. การจัดการเรียนรู้
๑. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการเรียนรู้
๒. บันทึกผลการเรียนรู้ให้ครอบคลุมทั้ง K P A รวมทั้งปัญหาและข้อเสนอแนะ
๓. ระบุปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหา
เมื่อนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในแต่ละห้องเรียนให้บันทึกการจัดการเรียนรู้ตามลำดับดังนี้
๑. การปรับเปลี่ยนรายละเอียดในแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับธรรมชาติผู้เรียนในแต่ละห้อง ( ถ้าจำเป็น )
๒. บรรยากาศระหว่างเรียนรู้ เช่น ความเหมาะสมของกิจกรรม สื่อ พฤติกรรมนักเรียนในการเรียนรู้ ความเหมาะสมด้านเวลาเป็นต้น
๓. ประเมินผลการเรียนรู้โดยแยกแยะให้เห็นการบรรลุKAP คุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะคิดวิเคราะห์อ่านเขียนในแผนนั้น
๔. ปัญหา/ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาแผนการเรียนรู้ให้ดีขึ้น
พฤติกรรมการสอนที่ค้นพบและควรพัฒนาตนเองต่อไป
การปรับเปลี่ยนรายละเอียดในแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับธรรมชาติผู้เรียนในแต่ละห้อง
กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
๖. การประมวลผลการเรียนรู้
๑. ประเมินผลนักเรียนจากแผนการจัดการเรียนรู้
๒. ศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนจากบันทึกการจัดการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
๓. จัดกลุ่มนักเรียนที่ผ่าน/ไม่ผ่าน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังด้าน KAP ในแต่ละด้านตามหน่วยการเรียนรู้
ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ให้นำผลการเรียนรู้จากแผนย่อยๆ มาประมวลผล ที่สามารถให้รายละเอียดของนักเรียนแต่ละคนดังนี้
๑. พัฒนาการของการบรรลุผลการเรียนรู้ ( KAP ) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ทักษะการคิดวิเคราะห์ อ่านเขียนจากแผนสู่แผนในหน่วย
๒. วินิจฉัยสาเหตุการไม่บรรลุผล ( สำหรับนักเรียนที่ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด )
๓. มีข้อมูลเสนอแนวทางการพัฒนาหรือปรับปรุงนักเรียนที่ไม่ผ่าน
๔. ประมวลผลนักเรียนที่ตัดสินในหน่วยนั้นให้เชื่อมโยงกับข้อมูลที่ต้องการใน ป.พ. ๕
วินิจฉัยสาเหตุ ( สำหรับนักเรียนที่ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด )โดยร่วมกันของครูที่รับผิดชอบ
๗. การนิเทศภายในและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๑.จัดประชุมนิเทศ
๒. จัดประชุมหัวหน้ากลุ่มสาระในการประชุมคณะกรรมการบริหาร
๓. นิเทศทุกกลุ่มสาระเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๔. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การนิเทศ
จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามกลุ่มสาระหรือสายชั้นตามความเหมาะสมโดยมีตัวแทนทีมนำหรือทีมคุณภาพจากระบบเรียนรู้และระบบอื่นๆ เข้าร่วมประชุมตามความเหมาะสมและให้มีแนวปฏิบัติดังนี้
๑. ผู้สอนแต่ละคนรวบรวมปัญหาและข้อเสนอค้นพบจากขั้นตอนตามกระบวนการที่ผ่านมา ส่งให้หัวหน้ากลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อการประมวลประเด็น
๒.ในแต่ละเดือนให้มีการประชุมกลุ่มสาระ ประชุมสายชั้น ๑ ครั้ง เป็นอย่างน้อย
ผู้สอนแต่ละคนรวบรวมปัญหาและข้อเสนอค้นพบ
ในแต่ละเดือนให้มีการประชุมกลุ่มสาระ ประชุมสายชั้น ๑ ครั้ง เป็นอย่างน้อย
กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
๓.ร่วมกันลำดับความสำคัญของปัญหา เสนอแนวทางการแก้ไขที่เกิดจากระบบเรียนรู้และระบบอื่นๆ จากตัวอย่าง ที่ประสบความสำเร็จ
๔.บันทึกผลการนิเทศภายในและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแบบบันทึกที่กำหนด
๕.ประเมินผลความพึงพอใจการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแบบประเมิน
๖.หัวหน้าสายชั้น/หัวหน้ากลุ่ม สาระ บันทึกผลการประชุมเสนอทีมทำ ทีมพัฒนาคุณภาพ ระบบอื่นๆ เพื่อประสานการแก้ปัญหาร่วมกัน
๘. การวิจัยปรับปรุง
๑.ศึกษาวิเคราะห์พัฒนานักเรียนที่ไม่ผ่านผลการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ตามสภาพของแต่ละบุคคล/กลุ่ม
๒. ดำเนินการแก้ไข/ซ่อมเสริม โดยใช้หลักการประเมินผลเพื่อพัฒนา
- ประเมินรายหน่วยการเรียนรู้
- ประเมินและพัฒนาเป็นรายวิชา
- ประเมินสอบแก้ตัวเพื่อการซ่อมเสริม
๓.การพัฒนานวตกรรม การทำวิจัยชั้นเรียน
๔. ดำเนินการวิจัย ติดตาม ประเมินผล และรายงานการวิจัยวิจัยในชั้นเรียนที่พบปัญหา
๑. ทบทวนการประมวลผลการเรียนรู้แต่ละหน่วยและการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน
๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ สำหรับกลุ่มที่ตัดสินผลไม่ผ่านในหน่วยนั้นๆ
๓. ศึกษานวตกรรม วิธีการวิจัยชั้นเรียน จากคู่มือที่กำหนด
๔. ออกแบบการวิจัย ตามแบบบันทึกเค้าโครงที่กำหนดอาจจะทำเป็นรายบุคคล กลุ่ม รายวิชา หรือทีมสายชั้นตามสภาพปัญหาที่สามารถบูรณาการได้
๕. ดำเนินการวิจัย ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการวิจัย
๖. นำผลงานวิจัยมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มสาระสายชั้น หรือในโรงเรียนตามความเหมาะสม
ขั้นตอนการทำวิจัยสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
ต้องการพัฒนาจากบันทึก
หลังการสอน เช่นเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์นักเรียน
๙. การพัฒนาต่อเนื่อง ส่งเสริมเด็กเก่ง
๑. นักเรียนมีโอกาสพัฒนาผลการเรียนรู้เป็นรายหน่วย/รายวิชาตามข้อกำหนดของกลุ่มสาระ
๒. นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์จะใช้วิธีการประเมินมูลค่าเพิ่มและแก้ไขผลการเรียนเพื่อการซ่อมเสริม
๓. กำหนดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมนักเรียนและผู้รับผิดชอบ
๑. ทบทวนการประมวลผลการเรียนรู้แต่ละหน่วย และการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๒. รวบรวมรายชื่อ ผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนกลุ่มสูง
๓. ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้น ร่วมกับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายเพื่อแลกเลือกและกำหนดกิจกรรมเพิ่มเติม ตามความสมัครใจ
๔. กลุ่มสาระ/สายชั้น จัดอาจารย์ที่ปรึกษาทำกิจกรรมประสานกับผู้ปกครอง แหล่งประกอบการและทีมทำในระบบดูแลนักเรียน และระบบกิจกรรมนักเรียน
๕. อาจารย์ที่ปรึกษาติดตามให้คำปรึกษารายงานผลการดำเนินการ
๖. นำผลงานนักเรียนมาแลกเปลี่ยนภายใน ภายนอก และประกาศเกียรติคุณตามความเหมาะสม
หลังการรวบรวมรายชื่อครูกลุ่มสาระ/สายชั้น จัดอาจารย์ที่ปรึกษาทำกิจกรรมประสานกับผู้ปกครอง แหล่งประกอบการและทีมทำในระบบดูแลนักเรียน และระบบกิจกรรมนักเรียน
กระบวนการ
วิธีปฏิบัติเดิม
วิธีปฏิบัติจากโรงเรียนตัวอย่าง
แนวคิดการพัฒนา
๑๐. การรายงานผลระบบการเรียนรู้
๑. ครูจัดทำกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคนตามแบบ ปพ. 5
๒. ครูทุกคนจัดทำ SSR รายบุคคลของผู้สอน/กลุ่มสาระ/ระดับโรงเรียน
๓. ทุกกลุ่มสาระจัดแสดงผลงานของครูและนักเรียน
๔. ทบทวน สรุปผลการเรียนรู้ ทุกภาคเรียน / ปี
๑. ประชุมร่วมกันกำหนด บันทึกสำคัญและตัวชี้วัดสำคัญ ในการจัดทำสารสนเทศระบบการเรียนรู้
๒. ออกแบบการจัดทำสารสนเทศระบบการเรียนรู้ (เพื่อการรายงานของครูแต่ละคนในแต่ละภาคเรียน ) โดยสารสนเทศควรมีรายละเอียดที่ให้เห็นในประเด็นต่อไปนี้
· ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นตามกระบวนการของระบบตามลำดับ
· ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดด้านปัจจัย กระบวนการและผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบ
· จุดเด่น/ จุดพัฒนาที่ค้นพบจากผลงานของตนจากระบบหลักและระบบสนับสนุน
· ผลสัมฤทธิ์จากผู้เรียนจาก ป.พ. ๕ ที่สอดคล้องกับข้อกำหนด ๑๒.๑ – ๑๒.๑๒
๓. จัดทำสารสนเทศเป็นรายบุคคลตามแบบบันทึกที่กำหนด
๔. รวมเสนอสายชั้น/ กลุ่มสาระเพื่อจัดทำสารสนเทศรวมในขั้นต่อไป
การจัดทำระบบสารสนเทศให้เกิดประโยชน์และเป็นไปในทางเดียวกัน
ใบกิจกรรมที่ ๓.๓
ระบบการเรียนรู้
กระบวนการของระบบ
ประเด็นที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
แนวคิดประยุกต์ในการจัดการในโรงเรียนของตน
๑.การวิเคราะห์คำอธิบายรายวิชาและจัดทำหน่วยการเรียนรู้
นำหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชาที่รับผิดชอบเข้าประชุมสายชั้นเพื่อกำหนดหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การให้ครูที่รับผิดชอบในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้กำหนดหน่วยการเรียนรู้ที่รับผิดชอบจากนั้นร่วมกันนำหน่วยการเรียนรู้ในรายสาระที่รับผิดชอบมาร่วมประชุมเพื่อบูรณาการร่วมกันในระดับชั้น
๒.การวิเคราะห์ผู้เรียน
ประชุมกลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อจัดกลุ่มผู้เรียนที่ต้องปรับพื้นฐานตามสภาพปัญหาและสาเหตุ
หลังจากที่ครูประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือครูประจำชั้นได้ศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคลแล้วก็มีการประชุมกลุ่มกันเพื่อร่วมกันจัดกลุ่มนักเรียนเพื่อประโยชน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการปรับพื้นฐานนักเรียน และการส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถ นอกจากนี้ยังเป็นการร่วมกันหาข้อมูลเพิ่มเติมได้อีกด้วย
๓. การปรับพื้นฐานผู้เรียน
๑.ประชุมกลุ่มสาระ/สายชั้นเพื่อเลือกกำหนดรูปแบบและผู้รับผิดชอบในการปรับพื้นฐาน
การประชุมครูในระดับสายชั้นและกลุ่มสาระเพื่อกำหนดการปรับพื้นฐานนักเรียนร่วมกัน
กระบวนการของระบบ
ประเด็นที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
แนวคิดประยุกต์ในการจัดการในโรงเรียนของตน
๒. กำหนดกิจกรรมการปรับพื้นฐานตามรูปแบบที่กำหนดใช้วิธีการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียนและผู้ปกครองตามความเหมาะสมกับปัญหาและสาเหตุ
การประชุมร่วมกันระหว่าง ครู นักเรียน ผู้ปกครอง เพื่อกำหนดกิจกรรมในการปรับพื้นฐาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือกัน และกำหนดกิจกรรมได้เหมาะสมกับปัญหาด้วย
๔. การออกแบบการเรียนรู้และการวัดผล
กำหนดพฤติกรรมการเรียนรู้ย่อยๆ ที่สัมพันธ์กับKAP ของแผนและกำหนดแนวทางการวัดที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้
ออกแบบกิจกรรม สื่อการเรียนรู้ ที่เน้นการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ สอดคล้องกับข้อมูลพื้นฐานและการวิเคราะห์ผู้เรียน และมีประสิทธิภาพให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังบรรลุ KAP ได้จริง
เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดการออกแบบการเรียนรู้ควรให้มีความสอดคล้องกัน ระหว่างพฤติกรรมการเรียนรู้และการกำหนดกิจกรรม สื่อ โดยในการกำหนดต้องศึกษาถึงข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน ด้วย
๕. การจัดการเรียนรู้
การปรับเปลี่ยนรายละเอียดในแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับธรรมชาติผู้เรียนในแต่ละห้อง
การปรับเปลี่ยนแผนการเรียนรู้ให้มีความเหมาะสมกันผู้เรียน ในแต่ละห้องเพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีความเหมาะสมตามสภาพของผู้เรียนอย่างแท้จริง
กระบวนการของระบบ
ประเด็นที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
แนวคิดประยุกต์ในการจัดการในโรงเรียนของตน
๖.การประมวลผลการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย
วินิจฉัยสาเหตุ ( สำหรับนักเรียนที่ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด )โดยร่วมกันของครูที่รับผิดชอบ
เมื่อประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนแล้วมีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ครูในแต่ละกลุ่มสาระที่รับผิดชอบในระดับชั้นควรร่วมกันหาสาเหตุของปัญหาที่นักเรียนไม่ผ่านเพื่อกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกันและจัดทำบันทึกการช่วยเหลือนักเรียนเพื่อไม่เกิดความซ้ำซ้อนการช่วยเหลือนักเรียน
๗. การนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผู้สอนแต่ละคนรวบรวมปัญหาและข้อเสนอค้นพบ
ในแต่ละเดือนให้มีการประชุมกลุ่มสาระ ประชุมสายชั้น ๑ ครั้ง เป็นอย่างน้อย
ก่อนจัดกิจกรรมการนิเทศ ครูผู้สอนควรรวบรวมปัญหาร่วมกัน และกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อสามารถหาแนวทางร่วมกันได้และควรมีการประชุมอย่างไม่เป็นทางการระหว่างกลุ่มสาระหรือสายชั้นเพื่อดูการแก้ปัญหา และการพัฒนาร่วมกัน
๘. การวิจัยชั้นเรียน
ขั้นตอนการทำวิจัยสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
การทำวิจัยควรมีขั้นตอนตั้งแต่ก่อนการทำวิจัย ไปสู่การนำวิจัยที่ได้ไปเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ร่วมกันโดยการทำวิจัยมีขั้นตอนที่สามารถไปใช้คือ
๑. ทบทวนการประมวลผลการเรียนรู้แต่ละหน่วยและการนิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน
๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ สำหรับ
กระบวนการของระบบ
ประเด็นที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
แนวคิดประยุกต์ในการจัดการในโรงเรียนของตน
กลุ่มที่ตัดสินผลไม่ผ่านในหน่วยนั้นๆ
๓.ศึกษานวตกรรม วิธีการวิจัยชั้นเรียน จากคู่มือที่กำหนด
๔.ออกแบบการวิจัย ตามแบบบันทึกเค้าโครงที่กำหนดอาจจะทำเป็นรายบุคคล กลุ่ม รายวิชา หรือทีมสายชั้นตามสภาพปัญหาที่สามารถบูรณาการได้
๕. ดำเนินการวิจัย ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการวิจัย
๖. นำผลงานวิจัยมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มสาระสายชั้น หรือในโรงเรียนตามความเหมาะสม
๙. การพัฒนา เสริมเด็กเก่ง
หลังการรวบรวมรายชื่อครูกลุ่มสาระ/สายชั้น จัดอาจารย์ที่ปรึกษาทำกิจกรรมประสานกับผู้ปกครอง และทีมทำในระบบดูแลนักเรียน และระบบกิจกรรมนักเรียน
การกำหนดกิจกรรมร่วมกันระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง ในการส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ
กระบวนการของระบบ
ประเด็นที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
แนวคิดประยุกต์ในการจัดการในโรงเรียนของตน
๑๐. รายงานผลระบบการเรียนรู้
การจัดทำระบบสารสนเทศให้เกิดประโยชน์และเป็นไปในทางเดียวกัน
โรงเรียนควรร่วมกันกำหนดรูปแบบของการจัดทำสารสนเทศร่วมกัน เพื่อให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน และเป็นระบบเดียวกัน เช่น หลักฐานการเก็บคะแนน การประเมินผลการเรียน นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์ในการส่งต่อข้อมูลระหว่างสายชั้น เป็นต้น
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น